(Photo : enniscorthychamber.ie)
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารธุรกิจ
แบ่งออกเป็น 3ตอน
รอบนี้เป็นตอนที่3 ไปลุยกัน
--------
ตอนที่3 เกี่ยวกับจริยธรรมทางธุรกิจและความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจ
จริยธรรมเป็นสิ่งที่ผู้บริหารควรยึดเป็นมาตราฐาน
จริยธรรมทางธุรกิจหมายถึง การประพฤติปฏิบัติที่ถูกต้องทั้งทางกฏหมาย และทางศีลธรรมที่ผู้ประกอบการทางธรุกิจจะยึดถือเป็นมาตราฐาน เพื่อเป็นแนวทางของการประพฤติและการปฏิบัติ เรียกกันโดยทั่วไปว่า จรรยาบรรณ โดยปกติจะเขียนเป็นลายลักษณ์อักษร
ระดับของจริยธรรม
- การจัดการอย่างผิดศีลธรรม : ใช้วิธีไม่ถูกต้องเพื่อประโยชน์ของตนเองโดยไม่สนใจผู้อื่น
- การจัดการอย่างมีศีลธรรม : ตรงข้ามกับข้อแรก คำนึงถึงความถูกต้องและยุติธรรม
- การจัดการอย่างไม่สนใจศีลธรรม : อาจะเกิดความไม่ตั้งใจเพราะไม่เข้าใจต่อเรื่องจริยธรรม
ความสำคัญของจริยธรรมทางธุรกิจ
- ก่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดี
- ก่อให้เกิดความน่าเชื่อถือ
- ก่อให้เกิดการทุ่มเทของพนักงาน
- ก่อให้เกิดดารทำงานอย่างมีความสุข
องค์ประกอบของจริยธรรมทางธุรกิจของผู้บริการ
- ความซื่อสัตย์
- ความยุติธรรม
- ความรับผิดชอบ
- ความไว้วางใจ
- เคารพสิทธิส่วนบุคคล
- บำรุงรักษาสิ่งแวดล้อม
----------------------
ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจ เรียกกันว่า CSR(Corporate Social Responsibility)
คือ การดำเนินงานของผู้บริหาร ทั้งการคิด การพูดและการกระทำ โดยคำนึงถึงความสมดุลระหว่างธุรกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องกันทั้งหมด อย่างมีความรับผิดชอบ ทั้งในเชิงป้องกันและแก้ไขผลกระทบที่เกิดขึ้นแล้ว หรือกำลังจะเกิดขึ้น
ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจมีหลายด้าน
- ด้านสิ่งแวดล้อม
- ด้านการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
- ด้านความเป็นธรรมต่อเพื่อนมนุษย์
- ด้านความรับผิดชอบในการดำเนินธุรกิจ
ปรเภทของCSR
- CSR-after-process : การดำเนินกิจกรรมที่แยกต่างหากจากธุรกิจ เช่น การแจกจ่ายของบรรเทาสาธารณภัย
- CSR-in-process : การดำเนินธุรกิจที่หากำไรอย่างมีความรับผิดชอบ เช่น กำจัดผลพิษในการผลิตเพื่อไม่ให้กระทบกับชุมชน
- CRS-as-process : ดำเนินงานโดยองค์การไม่แสวงหาผลกำไร เช่น มูลนิธิ
ความรับผิดชอบต่อสังคัมขององค์การตามลำดับขั้น มี4ระดับ
- ความรับผิดชอบทางเศรษฐกิจ
- ความรับผิดชอบทางกฏหมาย
- ความรับผิดชอบทางจริยธรรม
- ความรับผิดชอบทางมนุษยธรรม
ความสำคัญของความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การ
จะสร่างความไว้วางใจแก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับองค์การ
ด้านลูกค้าจะเกิดความไว้วางใจในการใช้สินค้าและบริการ
ด้านองค์การจะสร้างภาพลักษณ์ ชื่อเสียงขององค์การ
ด้านพนักงานจะทุ่มเทและภูมิใจ เกิดความผูกพันธ์กับองค์การ
----------------------
จริยธรรมเป็นสิ่งที่ผู้บริหารควรยึดเป็นมาตราฐาน
จริยธรรมทางธุรกิจหมายถึง การประพฤติปฏิบัติที่ถูกต้องทั้งทางกฏหมาย และทางศีลธรรมที่ผู้ประกอบการทางธรุกิจจะยึดถือเป็นมาตราฐาน เพื่อเป็นแนวทางของการประพฤติและการปฏิบัติ เรียกกันโดยทั่วไปว่า จรรยาบรรณ โดยปกติจะเขียนเป็นลายลักษณ์อักษร
ระดับของจริยธรรม
- การจัดการอย่างผิดศีลธรรม : ใช้วิธีไม่ถูกต้องเพื่อประโยชน์ของตนเองโดยไม่สนใจผู้อื่น
- การจัดการอย่างมีศีลธรรม : ตรงข้ามกับข้อแรก คำนึงถึงความถูกต้องและยุติธรรม
- การจัดการอย่างไม่สนใจศีลธรรม : อาจะเกิดความไม่ตั้งใจเพราะไม่เข้าใจต่อเรื่องจริยธรรม
ความสำคัญของจริยธรรมทางธุรกิจ
- ก่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดี
- ก่อให้เกิดความน่าเชื่อถือ
- ก่อให้เกิดการทุ่มเทของพนักงาน
- ก่อให้เกิดดารทำงานอย่างมีความสุข
องค์ประกอบของจริยธรรมทางธุรกิจของผู้บริการ
- ความซื่อสัตย์
- ความยุติธรรม
- ความรับผิดชอบ
- ความไว้วางใจ
- เคารพสิทธิส่วนบุคคล
- บำรุงรักษาสิ่งแวดล้อม
----------------------
ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจ เรียกกันว่า CSR(Corporate Social Responsibility)
คือ การดำเนินงานของผู้บริหาร ทั้งการคิด การพูดและการกระทำ โดยคำนึงถึงความสมดุลระหว่างธุรกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องกันทั้งหมด อย่างมีความรับผิดชอบ ทั้งในเชิงป้องกันและแก้ไขผลกระทบที่เกิดขึ้นแล้ว หรือกำลังจะเกิดขึ้น
ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจมีหลายด้าน
- ด้านสิ่งแวดล้อม
- ด้านการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
- ด้านความเป็นธรรมต่อเพื่อนมนุษย์
- ด้านความรับผิดชอบในการดำเนินธุรกิจ
ปรเภทของCSR
- CSR-after-process : การดำเนินกิจกรรมที่แยกต่างหากจากธุรกิจ เช่น การแจกจ่ายของบรรเทาสาธารณภัย
- CSR-in-process : การดำเนินธุรกิจที่หากำไรอย่างมีความรับผิดชอบ เช่น กำจัดผลพิษในการผลิตเพื่อไม่ให้กระทบกับชุมชน
- CRS-as-process : ดำเนินงานโดยองค์การไม่แสวงหาผลกำไร เช่น มูลนิธิ
ความรับผิดชอบต่อสังคัมขององค์การตามลำดับขั้น มี4ระดับ
- ความรับผิดชอบทางเศรษฐกิจ
- ความรับผิดชอบทางกฏหมาย
- ความรับผิดชอบทางจริยธรรม
- ความรับผิดชอบทางมนุษยธรรม
ความสำคัญของความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การ
จะสร่างความไว้วางใจแก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับองค์การ
ด้านลูกค้าจะเกิดความไว้วางใจในการใช้สินค้าและบริการ
ด้านองค์การจะสร้างภาพลักษณ์ ชื่อเสียงขององค์การ
ด้านพนักงานจะทุ่มเทและภูมิใจ เกิดความผูกพันธ์กับองค์การ
----------------------
ปล. ทั้งหมดเขียนตามความเข้าใจล้วนๆ อันไหนเข้าใจผิดขอภัยด้วย วันไหนเข้าใจถูกจะเข้ามาแก้ไขให้ถูกต้องที่สุดต่อไป
“ I have come to believe over and over again that what is most important to me must be spoken, made verbal and shared, even at the risk of having it bruised or misunderstood. ” : Audre Lorde
Goodluck,
Introvert man.
No comments:
Post a Comment